การปลูกพืชกลับหัว ประหยัดพื้นที่ดูแลง่าย
การปลูกพืชกลับหัว
“การปลูกพืชกลับหัว” เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรและผู้ที่สนใจปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน ซึ่งวิธีดังกล่าวพบว่าพืชมีการเจริญเติบโตได้ดี และยังนาพืชที่ปลูกแบบกลับหัวมาตกแต่งจัดสวนภายในบ้านหรือสถานที่ต่าง ๆ ทาให้เกิดความแปลกแก่ผู้พบเห็น สาหรับบ้านจัดสรรและคอนโดมิเนียม การปลูกผักกลับหัวนาไปแขวนด้านบน ส่วนพื้นที่ด้านล่างยังใช้ประโยชน์ได้อีก นอกจากจะช่วยประหยัดพื้นที่ปลูกแล้ว ยังสามารถมีผักต่าง ๆ เก็บไว้ทานด้วยฝีมือตัวเอง
ในต่างประเทศทาเป็นชุดผลิตภัณฑ์การปลูกผักกลับหัวแบบสาเร็จรูปออกมาขาย บรรจุกล่องสวยงาม เพียงผู้ซื้อนาชุดทดลองปลูกที่มีอยู่ในกล่องมารดน้าดูแลตามคาแนะนา ก็จะได้ผักกลับหัวปลูกไว้ที่บ้านหรือประดับตามสวน
ข้อดีในการปลูกพืชกลับหัว
- ช่วยทาให้น้าและธาตุอาหารไหลไปเลี้ยงส่วนยอดได้มี ประสิทธิภาพมากกว่าปกติ
- สามารถบรรเทาปัญหาการหยุดชะงักของการลาเลียงน้า และธาตุอาหาร
- ในสภาพที่ต้นพืชกลับหัวแรงโน้มถ่วงจะสามารถช่วยผลักน้าให้ไหลลงไป เลี้ยงส่วนยอด
- ช่วยลดปัญหาเรื่องวัชพืชและการเข้าทาลาย ของโรคและแมลงได้ดีอีกด้วย
- ประหยัดพื้นที่ในการปลูก อีกทั้งยังสามารถนามาประดับตกแต่งให้เกิดความสวยงามได้อีกด้วย
- เหมาะสาหรับพื้นที่ที่เป็นน้าท่วมซ้าซากทุกปี สามารถปลูกพืชผักและแขวนในครัวเรือนได้
วัสดุอุปกรณ์ สำหรับการปลูกพืชกลับหัว
- ขุยมะพร้าว
- ดิน
- ขี้เถ้าแกลบ
- กระถาง (มีรูด้านล่างและด้านข้าง)
- ลวดแขวน
- กระเบื้องสี่เหลี่ยมหรือแผ่นฟิวเจอร์บอร์ด
วิธีการปลูกพืชกลับหัว
- ผสมวัสดุปลูกและนาวัสดุปลูกใส่ลงในกระถางให้เต็ม
- นาแผ่นกระเบื้องสี่เหลี่ยมหรือแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดมาปิดด้านบนของกระถาง ใช้นิ้วหนีบไว้กับกระถางเพื่อป้องกันวัสดุปลูกร่วงหล่น
- คว่ากระถางเพื่อให้ก้นกระถางหันขึ้นด้านบน
- นาต้นกล้าพืชลงปลูกในรูก้นกระถาง
- รดน้าให้ปุ๋ยตามปกติ (ในกรณีที่ปลูกในขุยมะพร้าวควรรดด้วยสารละลายปุ๋ย)
- รอจนต้นโตสูงอย่างน้อย 1 ฟุตแล้วจึงพลิกกระถางเพื่อให้ต้นพืชกลับหัว
- ปลูกต้นไม้ด้านข้างและด้านบนของกระถางแล้วใช้ลวดแขวนกระถาง
ผสมดินปลูกพืช
กระถาง (มีรูด้านล่างและด้านข้าง)
นาวัสดุปลูกใส่ลงในกระถางให้เต็ม
คว่ากระถางเพื่อให้ก้นกระถางหันขึ้นด้านบน
นาต้นกล้าพืชลงปลูกในรูก้นกระถาง
ปลูกต้นไม้ด้านข้างและด้านบนของกระถางแล้วใช้ลวดแขวนกระถาง
ปลูกต้นไม้ด้านข้างและด้านบนของกระถางแล้วใช้ลวดแขวนกระถาง
ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี
บทความอื่นๆที่น่าสนใจ