การผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่ง ซุปเปอร์ พด.1
การผลิตปุ๋ยหมัก
ความหมายของปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยหมักเป็นอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เกิดจากการนำเศษซากพืช มารวมตัวและอาจจะกวนการย่อยสลายโดยกิจกรรมหนอนจุลินทรีย์ จนเปลี่ยนสภาพไปจากเดิมเป็นวัสดุที่มีลักษณะนุ่มนิ่ม เปื่วอยยุ่ย ไม่แข็งกระด้าง ซึ่งซึ่งจะออกสีน้ำตาลปนดำ
สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 สำหรับผลิตปุ๋ยหมัก
เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้จักรการเกษตรที่มีองค์ประกอบของเซลลูโลสและไขมันที่ย่อยสลายอยาก เช่น ทะลายปาล์ม ขี้เลื่อย เปลือกถั่ว เปลือกเมล็ดกาแฟ เพื่อผลิตปุ๋ยหมักในเวลาอันรวดเร็ว เป็นจุลินทรีย์ที่ทนต่ออุณหภูมิสูง ซึ่งประกอบไปด้วยจะจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายจากเซลลูโลส และจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายไขมัน เป็นต้น
ขั้นตอนวิธีการผสมของวัสดุมีแต่ใช้ทำปุ๋ยหมัก
ในการทำปุ๋ยหมักปริมาณ 1 ตัน นั้นประกอบไปด้วย
- เศษพืชแห้ง 1,000 กิโลกรัม
- มูลสัตว์ 200 กิโลกรัม
- ปุ๋ยไนโตรเจน 2 กิโลกรัม
- (หรือน้ำมันชีวภาพที่ผลิตจากปลา 9 กิโลกรัม)
- สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 1 ซอง (100 กรัม)
วิธีการกองปุ๋ยหมัก
ในการกองปุ๋ยหมัก 1 ตัน นั้นมีความกว้างประมาณ 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1.5 เมตร เส้นการกรองนั้นมี 2 วิธี วัสดุที่มีขนาดเล็ก ให้คลุกเคล้าวัสดุให้เข้ากัน และกล่องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า วัสดุที่มีชิ้นส่วนยาวให้ก่อนเป็นชั้นๆ 3-4 ชั้น แบ่งส่วนผสมที่เป็นกองออก เป็น 3-4 ส่วนตามจำนวนชั้นที่กอง ดังนี้
- ผสมสารซุปเปอร์ พด.1 ในน้ำ 20 ลิตร คนนาน 5-10 นาที เพื่อกระตุ้นให้จุลินทรีย์ออกจากสภาพที่เป็นสปอร์และพร้อมที่จะเกิดกิจกรรมการย่อยสลาย
- การกรองชั้นแรกให้นำวัสดุที่แบ่งไว้ส่วนที่ 1 มาก่อนเป็นชั้น มีขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 30 ถึง 40 เซนติเมตร ย้ำให้พอนั่นและรดน้ำให้ชุ่ม
- นำมูลสัตว์โดยที่ผิวหน้าเศษพืช
- โรยปุ๋ยไนโตรเจนทับบนชั้นของมูลสัตว์ หรือรดด้วยน้ำหมักชีวภาพจากปลา
- สารละลายสารเร่งให้ทั่วโดยแบ่งใส่เป็นชั้นๆ หลังจากนั้นนำเศษพืชมากองทับทำชั้นต่อไป ปฏิบัติเหมือนกันกล่องชั้นแรก ทำเช่นนี้อีก 2-3 ชั้น ชั้นบนสุดของกองปุ๋ยปิดทับด้วยเศษพืชที่เหลืออยู่เพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น
- รดน้ำรักษาความชื้นในกองปุ๋ยให้กองปุ๋ยช่วงอยู่สม่ำเสมอ มีความชื้นประมาณ 50 ถึง 60 เปอร์เซ็นต์
- ควรกลับกองปุ๋ยหมักทุกๆ 7-10 วันต่อครั้ง เพื่อเป็นการระบายอากาศ เพิ่มออกซิเจนและให้ช่วยวัสดุคลุกเคล้าให้เข้ากัน
- เก็บรักษากองปุ๋ยหมักที่เสร็จแล้วไว้ในโรงเรือนหลบแตดและฝน
“การผลิตปุ๋ยหมัก โดยใช้สารเร่ง ซุปเปอร์ พด.1”
หลักการพิจารณาปุ๋ยหมักที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว
- สีของวัสดุเศษพืชจะมีสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำ
- ลักษณะของวัสดุเศษพืชมีลักษณะอ่อนนุ่ม ยุ่ย และขาดออกจากกันได้ง่าย
- กลิ่นของวัสดุปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์จะไม่มีกลิ่นเหม็น
- อุณหภูมิภายในและภายนอกของกองปุ๋ยหมักจะใกล้เคียงกัน
- สังเกตเห็นว่าการเจริญของพืชบนกองปุ๋ยหมัก
- ค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนเท่ากันต่ำกว่า 20 ต่อ 1
อัตราและวิธีการใช้ปุ๋ยหมัก
- ข้าว อัตราการใช้ 2 ตันต่อไร่ หว่างให้ทั่วพื้นที่แล้วไถกลบก่อนปลูกพืช หรือ ข้าว
- พืชไร่ อัตราการใช้ 2 ตันต่อไร่ โดยเป็นแถวตามแนวปลูกพืชแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากันกับดิน
- พืชผัก อัตราการใช้กี่ตันต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงปลูกไถกลบขณะเตรียมดินปลูก
- ไม้ผม ไม้ยืนต้น แบ่งเป็น
การเตรียมหลุมปลุก 20 กิโลกรัมต่อหลุมเขาปุ๋ยหมักเข้ากับดินใส่รองก้นหลุม
ต้นพืชที่เจริญแล้ว อัตราการใช้ 20 ถึง 50 กิโลกรัมต่อต้นโดนขุดร่องลึก 10 เซนติเมตรตามแนวพุ่มตัดต้นไม้แล้วใส่ปุ๋ยหมักในร่องและอบด้วยดินหรือหวานให้พวกภายใต้ทรงพุ่ม - ไม้ตัดดอก อัตราการใช้ 2 ตันต่อไร่
- ไม้ยืนต้น อัตราการใช้ 5-10 กิโลกรัมต่อหลุม
ประโยชน์ของปุ๋ยหมัก
- ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์
- ช่วยเปลี่ยนสภาพของดินจากดินเหนียวหรือดินทรายให้เป็นดินร่วนทำให้สะดวกในการไถพรวน
- ช่วยสงวนรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ดีขึ้น
- ทำให้การถ่ายเทอากาศในดินได้ดี
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ยเคมีและสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้
- ช่วยกระตุ้นให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างในดินที่ละลายน้ำยากให้ละลายน้ำง่ายเป็นอาหารแก่พืชได้ดีขึ้น
- ไม่เป็นอันตรายต่อดินแม้จะใช้ในปริมาณมาก ๆ ติดต่อกันนาน ๆ
- ช่วยปรับสภาพแวดล้อม เช่น กำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชน้ำทั้งหลายให้หมดไป
ที่มา : จากเอกสารเผยแพร่เรื่องสารเร่งประเภทจุลินทรีย์ พด.1 พด.2 พด.3
กลุ่มวิจัยและพัฒนาอินทรีย์วัตถุเพื่อการเกษตร
สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน
กรมพัฒนาที่ดิน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทความอื่นๆที่เกี่ยวข้อง :